เราสมควรที่จะเลือกหัวข้อหมวดธรรมใดใน 84,000 พระธรรมขันธ์ ให้นักเรียนระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษาได้ศึกษา และปฏิบัติ - หลวงพ่อตอบปัญหา
เราสมควรที่จะเลือกหัวข้อหมวดธรรมใดใน 84,000 พระธรรมขันธ์ ให้นักเรียนระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษาได้ศึกษา และปฏิบัติ, การเรียนพระพุทธศาสนานั้น ให้ประโยชน์อะไรแก่เด็กนักเรียน, ผู้ที่สอบเข้ามหาวิทยาลัยได้ แต่ไม่ได้เรียนตามสาขาที่ตัวเองชอบ เขาควรจะทำอย่างไร
Dhammacakkapavattana Sutta: The Sermon : 3. The Noble Middle Way [majjhima patipada]
Anyone who wishes to escape from the Cycle of Existence [vadda samara], who has gone to all the trouble to re-nounce the life of a householder
วิสาขบูชา วันสำคัญของชาวโลก
คนทั่วไปมองว่า วันวิสาขบูชาซึ่งเป็นวันที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพานเป็นวันพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งก็ถูก แต่ถ้าจะให้เกิดประโยชน์แก่ตัวเราจริง ๆ วันวิสาขบูชาควรเป็นวันที่เราพิจารณาตัวเองว่า ขณะนี้เรากำลังดำเนินชีวิตไปในเส้นทางใด แล้วเส้นทางนั้นจะนำเราไปสุคติโลกสวรรค์หรือไปอบายการตรวจสอบว่า เรากำลังเดินถูกทางหรือไม่
ปฐมเทศนาในวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เนื่องจากเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นเมื่อ ๔๕ ปี ก่อนพุทธศักราช ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๘ คือ วันเพ็ญเดือนอาสาฬหะ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี อันเป็นวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา คือ ธัมมจักกัปปวัตนสูตร แก่ปัญจวัคคีย์
พระอรหันต์ของโลก
โลกนี้ โลกหน้า เรารู้อยู่ จึงประกาศไว้ดีแล้ว เราเป็นผู้ตรัสรู้เอง รู้ชัดโลกทั้งปวง ซึ่งแออัดด้วยมาร ทั้งที่เป็นโลกอันมัจจุไปไม่ถึง เรารู้ได้ด้วยปัญญาอันยิ่ง ได้เปิดประตูอมตะอันปลอดโปร่ง เพื่อบรรลุพระนิพพาน กระแสมารผู้ลามก เราตัดแล้ว กำจัดแล้ว ทำให้ปราศจากความฮึกเหิมแล้ว พวกเธอจงเป็นผู้มากไปด้วยปราโมทย์ ปรารถนาพระนิพพาน ซึ่งเป็นแดนเกษมเถิด
The Four Noble Truths : 2. Explanation of the Noble Truth of the Origin of Suffering
explanation of the Origin of Suffering includes all four of the Origin of Suffering’s implications in the light of the Four Noble Truths:
ผู้มีราตรีเดียวเจริญ
บุคคลไม่ควรคำนึงถึงสิ่งที่ล่วงแล้ว ไม่ควรมุ่งหวังสิ่งที่ยังไม่มาถึง สิ่งใดล่วงไปแล้ว สิ่งนั้นก็เป็นอันละไปแล้ว และสิ่งที่ยังไม่มาถึงก็เป็นอันยังไม่ถึง ก็บุคคลใดเห็นแจ้งธรรมปัจจุบันไม่ง่อนแง่นไม่คลอนแคลนในธรรมนั้น ๆ
ธัมมัสสวนมัย ฟังธรรมเป็นนิจจิตแจ่มใส
การฟังธรรมเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับทุกชีวิตยิ่งกว่าความรู้ทางโลกที่ร่ำเรียนมา เพราะจะทำให้เกิดดวงปัญญาสว่างไสว สามารถพิจารณาเห็นสิ่งต่าง ๆ ได้ถูกต้องตรงตามความเป็นจริง รู้จักแยกแยะผิดชอบชั่วดี ทำให้มีชีวิตอยู่ด้วยความร่มเย็นเป็นสุข ปลอดภัยจากอบายภูมิ
ธรรมกายคือหลักของชีวิต
เมื่อใดบัณฑิตย่อมเห็นด้วยปัญญาว่า สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง เมื่อนั้นเขาย่อมหน่ายในทุกข์ นี้เป็นทางแห่งความหมดจด
ชัยชนะครั้งที่ 6 (ตอนที่ 2 ชนะสัจจกนิครนถ์)
บรรดาสิ่งที่งอกขึ้น ความรู้เป็นสิ่งที่ประเสริฐ บรรดาสิ่งที่ตกไป อวิชชาเป็นเลิศ บรรดาสัตว์ที่เดินด้วยเท้า พระสงฆ์เป็นผู้ประเสริฐสุด บรรดาชนผู้แถลงคารม พระพุทธเจ้าเป็นผู้ประเสริฐสุด